
ขั้นตอนการส่งออกเผือก |

|
 |


|
ขั้นตอนการรับวัตถุดิบ
1 เมื่อวัตถุดิบมาส่งนำวัตถุดิบส่งเข้าห้องรับวัตถุดิบ
โดยลักษณะตะกร้าต้องเป็นตะกร้าที่บริษัทกำหนดให้ใช้
2 . ทำการชั่งน้ำหนักทั้งตะกร้า และบันทึกน้ำหนักรับเข้าในข้อมูลการรับวัตถุดิบ
3. เมื่อทำการสุ่มตรวจจาก QC เรียบร้อยแล้วนำวัตถุดิบมาตัดแต่งก่อนที่จะล้างวัตถุดิบ |



|
ขั้นตอนการล้างวัตถุดิบ
1. เตรียมน้ำตามอัตราส่วนกระบวนการล้างตามเจ้าหน้าที่
QA กำหนด พร้อมเติมคลอรีนลงในน้ำเพื่อช่วยฆ่าเชื้อโรคตามอัตราส่วนที่ระบุไว้
2. ตรวจวัดความเข้มข้นของปริมาณคลอรีน
3. เทวัตถุดิบลงในอ่างตามอัตราส่วน เช่น น้ำ 250 ลิตร
สามารถใส่วัตถุดิบได้ไม่เกิน 40 กิโลกรัม
4. ตั้งเวลาในการล้างวัตถุดิบโดย TIMER
เมื่อเวลาครบตามที่กำหนดจะมีเสียงดัง
5. เมื่อแช่วัตถุดิบตามเวลาที่กำหนด นำวัตถุดิบขึ้นพร้อมใส่ตะกร้าที่เตรียมไว้
7. จัดเก็บในห้องเย็นเพื่อช่วยลดอุณหภูมิ
|




|
ขั้นตอนการคัดตัดแต่งบรรจุ
1. นำวัตถุดิบมาตัดแต่งให้ได้ขนาด พร้อมทั้งลงกล่องตามที่ลูกค้าต้องการ
2. ทำการชั่งตามที่ลูกค้ากำหนด
3. ทำการปิดฝาลังพร้อมใส่เจลไอซ์ เพื่อให้อุณหภูมิลดลงช้ากว่าเดิม |


|
ขั้นตอนการขนส่ง
1. จัดเก็บในห้องเย็นเพื่อรอการขนส่งให้ลูกค้าตามเวลาที่กำหนด
2 ทำการปิดฝาลังพร้อมใส่เจลไอซ์ เพื่อให้อุณหภูมิลดลงช้ากว่าเดิม
3 ขนส่งสินค้าขึ้นรถขนส่งไปยังดอนเมือง
หรือลูกค้าต่างๆ
4. .ขึ้นสินค้าตามที่ลูกค้ากำหนด และส่งสินค้าตามเวลานัดหมาย
(ทางบริษัทพีเคสยามนำเข้าแบบแช่แข็ง)
|
|
 |
 |
ขั้นตอนการนำเข้า
|


ชื่อไทย เผือก
ชื่อสามัญ TARO
ชื่อวิทยาศาสตร์ Colocasia esculentum
ชื่อวงศ์ Araceae
สรรพคุณ ยาระบาย ขับปัสสาวะ ขับน้ำนม ห้ามเลือด
- - - - - - - -
- - - - - - - - - - - -

คุณค่าทางโภชนาการ ต่อ 100 กรัม
Energy
Water
Protein
Fat
Carbohydrate
Dietary fibre(crude fiber)
Ash
Calcium
Phosphorus
Thiamin
Riboflavin
Niacin
Vitamin C
|
117 Kcal
70 g
2.1 g
0.1 g
26.8 g
1.0 g
1.0 g
84 mg
54 mg
0.15 mg
0.04 mg
1.0 mg
2 mg |
- - - - - - - - -
- - - - - - - - - - - |